หน้าหลัก
ITA
LPA
ประกาศจากระบบ e-GP
ประกาศจากระบบ e-GP ในเครือข่าย
องค์การบริหารส่วนตำบล ท่าพล ใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายคุกกี้
ยอมรับ
นายประกอบบุญ กาฬษร
นายกองค์การบริหารส่วนตำบลท่าพล
ที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลท่าพล
วัดโนนศรัทธาชุม
เที่ยวพักผ่อนน้ำตกวังหินหอ
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านอมกง
นางสาวชณพร ชมคณนันท์
ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลท่าพล
ผลิตภัณฑ์สร้างรายได้ในตำบล
องค์การบริหารส่วนตำบลท่าพล
1
2
3
4
5
 

 
ยินดีต้อนรับเข้าสู่เว็บไซต์ อบต.ท่าพล อ.เมือง จ.เพชรบูรณ์ ค่ะ
 
 
กระแสไฟฟ้ารั่ว
กระแสไฟฟ้ารั่ว
กระแสไฟฟ้ารั่ว ก็คือการที่กระแสไฟฟ้าได้รั่วไหลจากวงจรไฟฟ้าไปที่ผิวของสายไฟฟ้า หรือโครงของอุปกรณ์ไฟฟ้า เครื่องใช้ไฟฟ้า หรือรั่วไปที่ผิวของโครง หรือผนังของจุดติดตั้งระบบ ไฟฟ้า เช่น เสาโลหะโคมไฟส่องสว่าง เป็นต้น หากเกิดไฟฟ้ารั่วแล้วมีคนไปสัมผัสอาจทำให้เกิดอันตรายถึงชีวิตได้
กระแสไฟฟ้ารั่ว เกิดจากอะไร
ขั้นแรกอาจจะเกิดจากการติดตั้งเดินสายไฟที่ไม่ถูกต้องตามมาตรฐาน การขาดการตรวจสอบและบำรุงรักษาอุปกรณ์ไฟฟ้า การใช้งานที่ไม่ถูกต้อง ตลอดไปจนถึงการเสื่อมสภาพของฉนวนอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ใช้มาเป็นเวลานาน หรือเสื่อมสภาพ ทำให้ตัวนำ หรือจุดเหล่านั้นมีแรงดันไฟฟ้า ไปสัมผัสกับโครงโลหะของอุปกรณ์ไฟฟ้าจึงเกิดกระแสไฟฟ้ารั่วขึ้น นอกจากนั้นการที่เกิดน้ำท่วมก็ยังเป็นตัวนำไฟฟ้าได้ด้วยเช่นกัน
วิธีการป้องกันอันตรายจากกระแสไฟฟ้ารั่ว
1.วิธีแรกคือติดตั้งระบบไฟฟ้าที่มีสายดิน ซึ่งสายดินมีความสำคัญและเป็นมาตรการหลักในการที่
จะช่วยป้องกันชีวิตจากอันตรายของกระแสไฟฟ้ารั่ว
2.ติดตั้งเครื่องตัดไฟรั่ว ซึ่งใช้เป็นอุปกรณ์ป้องกันสำหรับตัดไฟรั่ว เมื่อถึงค่ากระแสรั่วที่กำหนด
3. เมื่อรู้ว่ามีกระแสไฟฟ้ารั่ว ให้หลีกเลี่ยงการสัมผัส หรือจับต้องอุปกรณ์ไฟฟ้า เครื่องใช้ไฟฟ้า ควรหลีกเลี่ยงอย่างยิ่งในขณะที่ร่างกายเปียกชื้น หรือยืนอยู่บนที่เปียกแฉะ ขณะจับต้องอุปกรณ์ไฟฟ้า
4. หากจำเป็นต้องสัมผัสกับอุปกรณ์ไฟฟ้า หรือสิ่งที่เป็นสื่อนำ ไฟฟ้าดังกล่าว โดยสงสัยว่ามีไฟรั่ว หรือไม่ ให้ใช้ไขควงเช็ค ไฟตรวจสอบจุดที่สัมผัสก่อน
หากท่านสนใจเครื่องวัดกำลังไฟฟ้า สามารถเยี่ยมชมได้ที่ https://www.ponpe.com/

เขียนโดย   คุณ viralpat
วันที่ 3 พ.ย. 2563 เวลา 12.12 น. [ IP : 125.25.22.89 ]
เทอร์โมมิเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่ใช้วัดอุณหภูมิหรือการไล่ระดับอุณหภูมิ (ระดับความร้อนหรือความเย็นของวัตถุ) เทอร์โมมิเตอร์มีองค์ประกอบที่สำคัญสองประการ:

(1) เซ็นเซอร์อุณหภูมิ (เช่น เทอร์โมมิเตอร์แบบปรอทในแก้วหรือเซ็นเซอร์ไพโรเมตริกในเทอร์โมมิเตอร์อินฟราเรด) ซึ่งการเปลี่ยนแปลงบางอย่างเกิดขึ้นเมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนแปลง
(2) วิธีการบางอย่างในการแปลงการเปลี่ยนแปลงนี้เป็นค่าตัวเลข (เช่น มาตราส่วนที่มองเห็นได้ซึ่งทำเครื่องหมายไว้บนเทอร์โมมิเตอร์แบบปรอทในแก้วหรือการอ่านข้อมูลดิจิทัลในรุ่นอินฟราเรด)

เทอร์โมมิเตอร์ใช้กันอย่างแพร่หลายในเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมเพื่อตรวจสอบกระบวนการ อุตุนิยมวิทยา การแพทย์ และในการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ เครื่องวัดอุณหภูมิแบบดิจิตอลใช้ชิปคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์เพื่อบอกอุณหภูมิ ส่วนปลายของเทอร์โมมิเตอร์แบบดิจิตอลนั้นไวต่อความร้อน

จึงสามารถวัดอุณหภูมิได้อย่างแม่นยำและบอกชิปของคอมพิวเตอร์ว่าการวัดนั้นคืออะไร
เทอร์โมมิเตอร์แบบดิจิตอลมักใช้ในการอ่านค่าทางการแพทย์เป็นวิธีที่แม่นยำที่สุดในการทดสอบอุณหภูมิของบุคคลเพื่อดูว่าป่วยหรือไม่

ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ www.neonics.co.th


เขียนโดย   คุณ Tech
วันที่ 17 ม.ค. 2565 เวลา 17.11 น. [ IP : 49.228.224.118 ]
     
: รายละเอียด  
 
: แนบไฟล์   เลือกไฟล์ 
 
: ชื่อผู้เขียน  
 
 
 
(1)